คู่มือเลี้ยงลูกปฐมวัย ตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนถึงอายุ 6 ปี

รวมเอกสารและสื่อสำหรับผู้สนใจด้านการศึกษาปฐมวัย
ตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนถึงอายุ 6 ปี ภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss) ทักษะชีวิต และ EF

ขอบคุณ ดร.เฉลิมชัย พันธ์เลิศ ที่กรุณาส่งต่อข้อมูลจากทาง สพฐ. และ UNESCO นะคะ และขอขอบคุณเจ้าของผลงาน หน่วยงานผู้ผลิต รวมถึงผู้รวบรวมเอกสารในแต่ละหัวข้อด้วยค่ะ

การศึกษาปฐมวัย

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ.เผยแพร่ “เอกสารทางวิชาการปฐมวัย และคลิปวิดีทัศน์ เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทางการศึกษาและผู้ดูแลเด็กปฐมวัย” เพื่อให้สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ และสำหรับให้ครู สถานศึกษา และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานำไปใช้
1️⃣ แนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สำหรับเด็กปฐมวัย
2️⃣ พหุปัญญาบนฐานวิถีชีวิตใหม่ สำหรับเด็กอนุบาล
3️⃣ แนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย 3-6 ปี สำหรับพ่อแม่ ผู้ปกครอง
4️⃣ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาการคำนวณ ระดับอนุบาล
5️⃣ รายงานผลการประเมินพัฒนาการนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560
6️⃣ แนวดำเนินงาน “โครงการพัฒนาคนตลอดช่วงเด็กปฐมวัย สำหรับโรงเรียนอนุบาลประจำจังหวัด และโรงเรียนอนุบาลประจำเขตพื้นที่การศึกษา”
7️⃣ วีดิทัศน์ เรื่อง “ประสบการณ์สำคัญกับกิจกรรม Active Learning ด้วยสื่อ Loose Parts”
8️⃣ วีดิทัศน์ เรื่อง “เทคนิคการจัดอบรมพ่อแม่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย”

ภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss)

? ขอเชิญดาวน์โหลดคู่มือถอดบทเรียนการแก้ไขปัญหาภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการถอดบทเรียนการแก้ไขปัญหาภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss) ของ สพฐ. และเห็นชอบให้มีการจัดทำเอกสารการถอดบทเรียนในรูปแบบ Handbook และ e-Book เพื่อใช้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์เป็นองค์ความรู้สำคัญในการแก้ไขปัญหาภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ของโรงเรียน ในสังกัด สพฐ. และเพื่อเป็นบทเรียน แนวทางในการแก้ไขหากเกิดเหตุการณ์ที่ทำให้ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติต่อไป
โดยสามารถดาวน์โหลดคู่มือได้ที่ ?
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. เผยแพร่เอกสาร PPT คู่มือ คลิป วีดิทัศน์ เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss) ของผู้เรียนใน 4 ด้าน
1️⃣ การอ่าน การเขียนภาษาไทย
2️⃣ การส่งเสริมและพัฒนาพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
3️⃣ การมีนิสัยรักการอ่าน
4️⃣ การส่งเสริมปฏิสัมพันธ์และทักษะกระบวนการทางสังคม
สำหรับให้ครู สถานศึกษา และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานำไปใช้
————————-———————-

1️⃣ แนวทางการแก้ปัญหาผลกระทบภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ด้านการอ่าน การเขียนภาษาไทย

?1. แบบวินิจฉัยการอ่านและการเขียนภาษาไทยพร้อมทั้งชุดแบบฝึกซ่อมเสริมการอ่านและการเขียนภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 รวม 9 เล่ม
?เล่ม 1 คู่มือการซ่อมเสริมการอ่านและการเขียนภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 เพื่อแก้ปัญหาภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ของนักเรียน (Learning Loss)
?เล่ม 2 แนวทางและแบบฝึกซ่อมเสริมการอ่านและการเขียนภาษาไทย พยัญชนะและสระ
?เล่ม 3 แนวทางและแบบฝึกซ่อมเสริมการอ่านและการเขียนภาษาไทย คำผันวรรณยุกต์
?เล่ม 4 แนวทางและแบบฝึกซ่อมเสริมการอ่านและการเขียนภาษาไทย คำที่มีสระลดรูป และสระเปลี่ยนรูป
?เล่ม 5 แนวทางและแบบฝึกซ่อมเสริมการอ่านและการเขียนภาษาไทย คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา
?เล่ม 6 แนวทางและแบบฝึกซ่อมเสริมการอ่านและการเขียนภาษาไทย คำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา
?เล่ม 7 แนวทางและแบบฝึกซ่อมเสริมการอ่านและการเขียนภาษาไทย คำควบกล้ำ
?เล่ม 8 แนวทางและแบบฝึกซ่อมเสริมการอ่านและการเขียนภาษาไทย คำที่มีอักษรนำ
?เล่ม 9 แนวทางและแบบฝึกซ่อมเสริมการอ่านและการเขียนภาษาไทย คำที่มีตัวการันต์
?2.วีดิทัศน์ตัวอย่างการจัดกิจกรรมของครู/สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา การพัฒนาการอ่านและการเขียนภาษาไทย จากรายการ “เสาร์สนุก ปลุกสมรรถนะการอ่าน”
?️แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครู อารมย์ ติดปาก คุ้นหู รู้ เข้าใจ อ่านได้เขียนถูกเพื่อลูกๆ นักเรียนอ่านออกเขียนได้ ผ่านบทร้องเล่น เพลง เกม และนิทานสระ (ครูอารมย์ เหลืองแดง)
?️วิถีใหม่ วิถีคุณภาพ กับนวัตกรรมอ่านเขียนคำใหม่ โดยใช้รหัสมือ” (คณะผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ และคณะครูโรงเรียนอนุบาลไพรบึง สพป.ศรีสะเกษ เขต 3)
?️แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครูอารมย์ ติดปาก คุ้นหู รู้ เข้าใจ อ่านได้เขียนถูกเพื่อลูกๆ นักเรียน อ่านออกเขียนได้ ผ่านบทร้องเล่น เพลง เกมและนิทานสระ (ครูอารมย์ เหลืองแดง)
?️ตะลุยภาษา พิชิตด่าน ก้าวผ่าน Learning Loss (คณะผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ คณะครูโรงเรียนประถมนนทรี สพป.กทม.)
?️วิถีใหม่ วิถีคุณภาพ กับนวัตกรรมอ่านเขียนคำใหม่ โดยใช้รหัสมือ ภาค 2” (คณะผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ และคณะครูโรงเรียนอนุบาลไพรบึง สพป.ศรีสะเกษ เขต 3)
?️อ่านเขียนทุกวัน สร้างสรรค์ปัญญา พัฒนาการอ่านออกเขียนได้
(คณะผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ และคณะครูโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง จังหวัดระยอง 9 สพป.ระยอง เขต 1)
————————-———————

2️⃣ แนวทางการแก้ปัญหาผลกระทบภาวะถดถอยทางพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

1.?️การสร้างความรู้ความเข้าใจแนวทางการแก้ปัญหาผลกระทบภาวะถดถอยทางพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ผ่านระบบการประชุม ZOOM MEETING
2.?Powerpoint “แนวทางการแก้ปัญหาผลกระทบภาวะถดถอยทางพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย”
  • บทบาทผู้บริการสถานศึกษาในการเตรียมความพร้อมและการแก้ปัญหาภาวะถดถอยทางพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
    http://academic.obec.go.th/…/news/1654505147_d_1.pdf
  • ผลกระทบภาวะถดถอยทางพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
    http://academic.obec.go.th/…/news/1654505147_d_2.pdf
  • บทบาทศึกษานิเทศก์ในการเตรียมความพร้อมและการแก้ปัญหาภาวะถดถอยทางพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
    http://academic.obec.go.th/…/news/1654505147_d_3.pdf
  • บทบาทครูผู้สอนในการเตรียมความพร้อมและการแก้ปัญหาผลกระทบภาวะถดถอยทางพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
    http://academic.obec.go.th/…/news/1654505147_d_4.pdf
  • บทบาทผู้ปกครองในการแก้ปัญหาผลกระทบภาวะถดถอยทางพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
    http://academic.obec.go.th/…/news/1654505147_d_5.pdf
3.?เอกสารแนวทางการแก้ปัญหาผลกระทบภาวะถดถอยทางพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
  • แนวทางการแก้ไขปัญหาผลกระทบภาวะภาวะถดถอยทางพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
    http://academic.obec.go.th/…/news/1661493643_d_1.pdf
  • แนวทางการจัดประสบการณ์เพื่อฟื้นฟูภาวะถดถอยทางพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
    http://academic.obec.go.th/…/news/1661493643_d_2.pdf
—————————

3️⃣ แนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เพื่อแก้ปัญหาภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ และส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอน

————————-———————-

4️⃣ กิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อลดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ด้านปฏิสัมพันธ์และกระบวนการการทางสังคม สำหรับผู้เรียน ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา

?เล่มที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
?เล่มที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
?เล่มที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
?เล่มที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
?เล่มที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
?เล่มที่ 6 ด้านทักษะทางสังคม (Social skills)

ทักษะชีวิต คู่มือรหัสครูศตวรรษที่ 21

การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตแห่งศตวรรษที่ 21 สำหรับครู ประกอบด้วยเนื้อหาที่สร้างความเข้าใจเรื่องทักษะชีวิตแก่ครู และบุคลากรทางการศึกษา วิธีการออกแบบแผนการสอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้และทักษะชีวิตแก่เด็ก รวมถึงตัวอย่างแผนการสอนที่พัฒนาทักษะชีวิตของเด็กและเยาวชน คู่มือนี้พัฒนาขึ้นจากความร่วมมือจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) องค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย และมูลนิธิไร้ท์ ทู เพลย์ เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนเป็นแหล่งสร้างทักษะชีวิตแก่เด็กและเยาวชน และเป็นคู่มือในการฝึกอบรมครูทั่วประเทศไทย
เครดิต: Rtghttoplayusa.org
พาวเวอร์ คือ คู่มือเกมเพื่อส่งเสริมสุขภาพและการศึกษา ประกอบด้วย 100 กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการเล่นที่สร้างสรรค์เพื่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู โค้ช นักสังคมหรือผู้ที่ทำงานร่วมกับเด็กสามารถใช้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการพัฒนาของเด็กๆ ได้ คู่มือชุดนี้ให้บริการทั้งในรูปแบบวิดีโอ และหนังสือคู่มือไฟล์ pdf เพื่อให้เด็กๆ ทั้งชายและหญิงให้พัฒนาทักษะชีวิตเช่น การสื่อสาร การเอาใจใส่ ความคิดสร้างสรรค์ และความมั่นใจ ส่งเสริมสุขภาพทางกายที่ดี สอนให้เด็กๆ รู้วิธีการจัดการอารมณ์ที่ยากลำบาก ตลอดจนสอนให้เด็กๆ เข้าใจในการมีส่วนร่วมของเพื่อนๆ ที่มีความแตกต่างทั้งในภูมิหลัง เพศและความสามารถ
ไร้ท์ ทู เพลย์ ได้ออกแบบกิจกรรมสำหรับเด็กทุกวัย เกมในคู่มือนี้สามารถเล่นได้ในหลากหลานสถานที่ทั้งห้องเรียน พื้นที่เล่นในชุมชน หรือที่บ้าน โดยใช้อุปกรณ์เพียงเล็กน้อยหรือไม่ต้องใช้เลยในบางเกม แต่ละกิจกรรมเน้นการเล่นเพื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้เด็กๆทุกเพศมีบทบาทในกิจกรรมอย่างเท่าเทียมกัน แต่ละเกมประกอบด้วยเป้าหมายหลักของการเรียนรู้และคำแนะนำในการสรุปการเรียนรู้ด้วยชุดคำถามสะท้อน-เชื่อมโยงและปรับใช้เพื่อให้ผู้เล่นได้สะท้อนสิ่งที่เขาได้เรียนรู้ เชื่อมโยงสิ่งที่ได้เรียนรู้เข้ากับประสบการณ์ชีวิตที่ผ่านมาและได้ปรับใช้สิ่งที่ได้เรียนรู้เข้ากับชีวิตจริง
ขอบพระคุณ องค์กร Right to Play
เผยแพร่โดยสถาบันสังคมศึกษา สพฐ.

 EF

คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF สำหรับครูปฐมวัย
โดย สสส. และ RLG
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ.
เผยแพร่ e-book และเอกสาร….
“การถอดบทเรียนแนวปฏิบัติที่ดีระดับปฐมวัยของโรงเรียนอนุบาลประจำจังหวัด จำนวน 81 แห่ง”
สำหรับให้ครูผู้สอน ผู้บริหารสถานศึกษา และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นำไปใช้ศึกษาและขยายผลเป็นโรงเรียนต้นแบบการถอดบทเรียนแนวปฏิบัติที่ดีระดับปฐมวัย ตามบริบทของสถานศึกษาตนเอง
แนวปฏิบัติที่ดีระดับปฐมวัยของโรงเรียนอนุบาลประจำจังหวัด (จำนวน 81 แห่ง) จำนวน 5 ด้าน
❤️ ด้านที่ 1 หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย จำนวน 12 โรงเรียน
? ด้านที่ 2 การจัดการเรียนรู้เชิงรุก จำนวน 41 โรงเรียน
? ด้านที่ 3 การประเมินพัฒนาการ จำนวน 5 โรงเรียน
? ด้านที่ 4 เครือข่ายการพัฒนาและการมีส่วนร่วมของพ่อแม่ ผู้ปกครอง จำนวน 12 โรงเรียน
? ด้านที่ 5 การบริหารจัดการ จำนวน 11 โรงเรียน
? ดาวน์โหลด เอกสารได้ที่ https://drive.google.com/…/1Pf2ujE7…/view…
?ดาวน์โหลด e-bookได้ที่ https://anyflip.com/svzln/sjlj
คู่มือเลี้ยงลูกปฐมวัย ตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนถึงอายุ 6 ปี

เอกสารการถอดบทเรียนแนวปฎิบัติที่ดีระดับปฐมวัยของโรงเรียนประจำจังหวัด

คู่มือเลี้ยงลูกปฐมวัย ตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนถึงอายุ 6 ปี

แนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย 3-6 ปี

คู่มือเลี้ยงลูกปฐมวัย ตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนถึงอายุ 6 ปี

แนวทางการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เพื่อแก้ปัญหาภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ และส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอน

คู่มือเลี้ยงลูกปฐมวัย ตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนถึงอายุ 6 ปี

การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตแห่งศตวรรษที่ 21

ที่มา